Category Archives: ตลาดนางเลิ้ง
ตลาดนางเลิ้ง
ตลาดนางเลิ้ง is position for activity in post to be presented at the first rank on Google page search by address key word name in category.
ตลาดนางเลิ้ง (Nang Loeng Market) is the old market in เขตสัมพันธวงศ์ (Samphanthawong District)
- เขตสัมพันธวงศ์ เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตของกรุงเทพมหานคร สภาพพื้นที่ประกอบไปด้วยแหล่งการค้าหนาแน่นและแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรม
เนื้อหา
ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้]
ตั้งอยู่ริมฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา (ฝั่งพระนคร) มีอาณาเขตติดต่อกับเขตต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกา ดังนี้
- ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย มีถนนเจริญกรุงและถนนพระรามที่ 4 เป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตบางรัก มีคลองผดุงกรุงเกษม เป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศใต้ ติดต่อกับเขตคลองสาน มีแนวกึ่งกลางแม่น้ำเจ้าพระยา เป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตพระนคร มีคลองรอบกรุง (คลองโอ่งอ่าง) เป็นเส้นแบ่งเขต
ประวัติศาสตร์[แก้]
เขตนี้เป็นสถานที่ที่มีชาวจีนอาศัยอยู่มาตั้งแต่ตอนแรกเริ่มกรุงรัตนโกสินทร์แล้ว พวกเขาได้ย้ายมาจากเขตพระนครในปัจจุบัน โดยมีถนนวานิช 1 หรือ “ถนนสำเพ็ง” เป็นศูนย์กลางของชุมชนชาวจีน จวบจนสร้างถนนเยาวราชในสมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อปี พ.ศ. 2435 ได้กลายมาเป็นศูนย์กลางชาวจีนจนถึงปัจจุบัน
อำเภอสัมพันธวงศ์ สร้างที่ว่าการอำเภอขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2475 ตั้งอยู่ที่สามแยกถนนทรงวาดตัดกับถนนปทุมคงคา ตำบลศาลเจ้าแม่ทับทิม ซึ่งอยู่ในเขตวัดสัมพันธวงศาราม จึงสันนิษฐานได้ว่าอำเภอสัมพันธวงศ์คงตั้งชื่อตามวัดที่ตั้งนั่นเอง (ปัจจุบันสำนักงานเขตย้ายไปตั้งที่ถนนโยธา แขวงตลาดน้อย) โดยแบ่งการปกครองออกเป็น 14 ตำบล
ต่อมาได้มีการยุบรวม “อำเภอสามแยก” ซึ่งตั้งที่ว่าการอำเภออยู่ที่ตึกแถวสี่แยกถนนทรงวาดกับถนนเยาวราช มีเขตปกครอง 6 ตำบล และ “อำเภอจักรวรรดิ” ซึ่งตั้งที่ว่าการอำเภออยู่ข้างสถานีตำรวจนครบาลจักรวรรดิ มีเขตปกครอง 18 ตำบล มาขึ้นกับอำเภอสัมพันธวงศ์ แล้วแบ่งเขตปกครองใหม่ออกเป็น 3 ตำบล คือ ตำบลสัมพันธวงศ์ ตำบลจักรวรรดิ และตำบลตลาดน้อย
ต่อมาในปี พ.ศ. 2515 มีประกาศคณะปฏิวัติจัดการบริหารราชการใหม่ในเขตนครหลวง อำเภอสัมพันธวงศ์ได้รับการเปลี่ยนแปลงฐานะเป็น เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร แบ่งเขตปกครองย่อยออกเป็น 3 แขวง
การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]
เขตสัมพันธวงศ์แบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 3 แขวง ได้แก่
อักษรไทย อักษรโรมัน พื้นที่
(ตร.กม.)จำนวนประชากร
(ธันวาคม 2561)จำนวนบ้าน
(ธันวาคม 2561)ความหนาแน่นประชากร
(ธันวาคม 2561)จักรวรรดิ Chakkrawat 0.4847,3225,03815,128.09สัมพันธวงศ์ Samphanthawong 0.4838,7404,41518,095.23ตลาดน้อย Talat Noi 0.4497,5933,75316,910.91ทั้งหมด 1.41623,65513,20616,705.50ประชากร[แก้]
[แสดง]สถิติประชากรตามทะเบียนราษฎร
เขตสัมพันธวงศ์[3]การคมนาคม[แก้]
ทางสายสำคัญในเขตสัมพันธวงศ์ ได้แก่
- ถนนพาดสาย
- ถนนทรงสวัสดิ์
- ถนนลำพูนไชย
- ถนนมิตรภาพไทย-จีน (ตรีมิตร)
- ถนนทรงวาด
- ถนนข้าวหลาม
- ซอยเจริญกรุง 12 (บำรุงรัฐ)
- ซอยเจริญกรุง 16 / ซอยเยาวราช 6 / ซอยเยาวราช 11 (อิศรานุภาพ)
- ซอยเยาวราช 23 (ถนนเสริมสินค้า)
- ซอยวานิช 1 (สำเพ็ง)
สถานที่สำคัญ[แก้]
ถนนเยาวราช[แก้]
ดูบทความหลักที่: ถนนเยาวราชถนนเยาวราช มีความยาวประมาณ 1.5 กิโลเมตร โดยเกือบตลอดถนนทั้งสายจะเต็มไปด้วยร้านขายทองและร้านอาหาร และเป็นชุมชนคนไทยเชื้อสายจีนอาศัยมากที่สุดในประเทศไทย
ในปัจจุบันมีประตูซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของไชนาทาวน์อยู่ ซึ่งได้สร้างเนื่องในพระราชวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงฉลองพระชนมายุครบ 6 รอบ ตั้งอยู่กลางวงเวียนโอเดียน สุดถนนเยาวราช
วัดและศาลเจ้า[แก้]
วัดและศาลเจ้าที่สำคัญ ได้แก่
- ศาลเจ้าเล่งบ๊วยเอี๊ยะ
- ศาลเจ้าอาเนี้ยเก็ง
- โรงเจบุญสมาคม
- ศาลเจ้ากวนอู
- ศาลเจ้าโจวซือกง
- ศาลเจ้าไต้ฮงกง
- ศาลเจ้าเล่าปุนเถ่ากง
- มูลนิธิเทียนฟ้า
สถานที่สำคัญอื่น ๆ[แก้]
- โรงเรียนไตรมิตรวิทยาลัย
- มหามณฑปหลวงพ่อทองคำ วัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร
- โบสถ์กาลหว่าร์
- เวิ้งนาครเขษม
- คลองถม
- สะพานหัน
- สะพานเหล็ก
- ซุ้มประตูเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบ พระชนมพรรษา
- ตลาดเก่าเยาวราช
- ตลาดใหม่
- มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตบพิตรพิมุข จักรวรรดิ
- พิพิธภัณฑ์ทองคำห้างทองตั้งโต๊ะกัง
- บางกอกริเวอร์พาร์ค
- พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น เขตสัมพันธวงศ์
- ย่านสำเพ็ง
- ซอยสุกร
- มัสยิดหลวงโกชาอิศหาก
- ศูนย์การค้าริเวอร์ซิตี้
- หอศิลป์กรุงไทย
- อาคารธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาตลาดน้อย
- กรมเจ้าท่า
เทศกาล[แก้]
ในช่วงเทศกาล ถนนเยาวราชจะปิดทั้งสาย
อ้างอิง[แก้]
- กระโดดขึ้น↑ ““ตลาดนางเลิ้ง” ตลาดบกแรกแห่งกรุงสยาม”. สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์.
- กระโดดขึ้น↑ “นางเลิ้ง พระนครย้อนสมัย ความศิวิไลซ์ในยุคบุกเบิก“. พินิจนคร. 2009-04-20.
- กระโดดขึ้น↑ ““นางเลิ้ง” ถิ่นฐานบ้านวัง ศิลปะฝรั่งในสยาม“. พินิจนคร. 2009-04-27.
- กระโดดขึ้น↑ “รวมของอร่อยย่านตลาดนางเลิ้ง”. ไทยโพสต์. 2017-01-01.
- กระโดดขึ้น↑ “ใครเคยกิน? “กล้วยทอดนางเลิ้ง””. คมชัดลึก. 2017-03-10.
- กระโดดขึ้น↑ “โจรแดงเหิมยิง ชาวบ้านนางเลิ้งตาย 2 เจ็บนับ 10”. ผู้จัดการออนไลน์.
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
- แผนที่และภาพถ่ายทางอากาศของ ตลาดนางเลิ้ง
- ภาพถ่ายดาวเทียมจากวิกิแมเปีย หรือกูเกิลแมปส์
- แผนที่จากมัลติแมป หรือโกลบอลไกด์
- ภาพถ่ายทางอากาศจากเทอร์ราเซิร์ฟเวอร์