Category Archives: ถนนสุขสวัสดิ์
ถนน สุขสวัสดิ์
ถนน สุขสวัสดิ์ is position for activity in post to be presented at the first rank on Google page search by address focus keyword name in category.
ถนน สุขสวัสดิ์ (Thanon Suk Sawat)
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 303 |
|
---|---|
ถนนสุขสวัสดิ์ | |
ถนนสุขสวัสดิ์ ช่วงตลาดบางประกอก
|
|
ข้อมูลของเส้นทาง | |
ความยาว: | 21.73 กิโลเมตร (13.50 ไมล์) |
ทางแยกที่สำคัญ | |
ปลายทิศตะวันตก: | ถนนสมเด็จพระเจ้าตากสิน (สะพานข้ามคลองดาวคะนอง) ใน เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร |
ปลายทิศตะวันออก: | ป้อมพระจุลจอมเกล้า ใน อ.พระสมุทรเจดีย์จ.สมุทรปราการ |
ระบบทางหลวง | |
ถนนสุขสวัสดิ์ (อักษรโรมัน: Thanon Suk Sawat) ซึ่งระยะทางส่วนใหญ่ของถนนมีฐานะเป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 303 สายราษฎร์บูรณะ–พระสมุทรเจดีย์ (ในสมัยก่อนมีชื่อว่า “ทางหลวงแผ่นดินสายดาวคะนอง – ป้อมพระจุล”)
สร้างตั้งแต่สมัยจอมพล ป. พิบูลสงครามถนนนี้ตั้งชื่อนี้เพื่อเป็นเกียรติแก่ร้อยโทหม่อมเจ้าธัญญลักษณ์ สุขสวัสดิ์ นายช่างหัวหน้าการก่อสร้าง กรมทางหลวง เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2493 ตามนโยบายของรัฐบาล มีความยาวทั้งหมด 28 กิโลเมตร โดยเริ่มต้นกิโลเมตรที่ 0 นับจากสะพานพระพุทธยอดฟ้าเป็นต้นมา แต่ถนนมีจุดเริ่มต้นตั้งแต่ถนนสมเด็จพระเจ้าตากสิน (สะพานข้ามคลองดาวคะนอง) จนถึงป้อมพระจุลจอมเกล้า
เริ่มต้นทางหลวงแผ่นดินตั้งแต่ถนนพระรามที่ 2 เป็นถนนขนาด 8 ช่องทางจราจรตั้งแต่ดาวคะนองถึงสามแยกวัดพระสมุทรเจดีย์ แล้วส่วนของสามแยกพระสมุทรเจดีย์-ป้อมพระจุลจอมเกล้ามีขนาด 2 ช่องทางจราจร
เอ็มเค เมทัลชีท
เขตราษฎร์บูรณะ เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตของกรุงเทพมหานคร
เนื้อหา
ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้]
ตั้งอยู่ทางตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา (ฝั่งธนบุรี) มีอาณาเขตติดต่อกับเขตข้างเคียงเรียงตามเข็มนาฬิกาดังนี้
- ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตธนบุรีและเขตบางคอแหลม มีคลองดาวคะนองและแนวกึ่งกลางแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตยานนาวา และอำเภอพระประแดง (จังหวัดสมุทรปราการ) มีแนวกึ่งกลางแม่น้ำเจ้าพระยาและคลองบางพึ่งเป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศใต้ ติดต่อกับเขตทุ่งครุ มีลำรางสาธารณะ คลองแจงร้อน ลำรางสาธารณะ คลองข้างโรงเรียนขจรโรจน์ คลองราษฎร์บูรณะ คลองตาเทียบ และลำรางสาธารณะเป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตจอมทอง มีคลองกอไผ่ขวด คลองยายจำปี คลองบางปะแก้ว และถนนสุขสวัสดิ์เป็นเส้นแบ่งเขต
ที่มาของชื่อเขต[แก้]
ความหมายของชื่อเขตที่เป็นอยู่ในขณะนี้ มาจากคำว่า “ราษฎร์” + “บูรณะ” มาเป็น “ราษฎร์บูรณะ” ตามพจนานุกรม “ราษฎร์” แปลว่า “พลเมืองของประเทศ” หรือ “แว่นแคว้นบ้านเมือง” “บูรณะ” แปลว่า “ทำให้เต็ม ปฏิสังขรณ์ซ่อมแซม” เมื่อนำมาสมาสรวมกันเป็น “ราษฎร์บูรณะ” จึงมีความหมายได้เป็นสองนัย คือ พลเมืองของประเทศช่วยกันสร้างขึ้นหรือรวบรวมกันตั้งขึ้นเป็นหมู่บ้าน อำเภอหนึ่ง และอีกนัยหนึ่งมีความหมายว่า เป็นเมืองที่ราษฎรช่วยกันค้ำจุนส่งเสริม และบำรุงรักษาทุกวิถีทางที่จะให้เป็นเมืองที่มีความเจริญยิ่ง ๆ ขึ้นสมกับเป็นเขตหนึ่งของกรุงเทพมหานคร และให้มีความเจริญเท่าเทียมกับเขตอื่น
ประวัติศาสตร์[แก้]
ท้องที่เขตราษฎร์บูรณะเดิมเป็นเขตแดนหนึ่งของกรุงธนบุรี เมื่อสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงสถาปนาเมืองนี้เป็นราชธานี ต่อมาในช่วงปฏิรูปการปกครอง บริเวณนี้ได้รับการจัดตั้งเป็น อำเภอราษฎร์บูรณะ ขึ้นอยู่กับจังหวัดธนบุรี
อำเภอราษฎร์บูรณะได้ถูกโอนไปเป็นเขตปกครองของจังหวัดนครเขื่อนขันธ์ (พระประแดง) อยู่ช่วงหนึ่ง จนกระทั่งจังหวัดนี้ถูกยุบลงเป็นอำเภอในจังหวัดสมุทรปราการ อำเภอราษฎร์บูรณะจึงกลับมาอยู่ในการปกครองของจังหวัดธนบุรีอีกครั้ง
และภายหลังได้มีการยุบรวมจังหวัดธนบุรีและจังหวัดพระนคร เปลี่ยนฐานะเป็นนครหลวงกรุงเทพธนบุรีและกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้เปลี่ยนการเรียกตำบลและอำเภอใหม่ด้วย อำเภอราษฎร์บูรณะจึงได้รับการเปลี่ยนแปลงฐานะเป็น เขตราษฎร์บูรณะ จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2540 ได้มีประกาศกระทรวงมหาดไทยแบ่งพื้นที่ทางทิศใต้ของเขตราษฎร์บูรณะออกไปจัดตั้งเป็นเขตทุ่งครุ
การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]
เขตราษฎร์บูรณะแบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 2 แขวง ได้แก่
อักษรไทย | อักษรโรมัน | พื้นที่ (ตร.กม.) |
จำนวนประชากร (ธันวาคม 2561) |
จำนวนบ้าน (ธันวาคม 2561) |
ความหนาแน่นประชากร (ธันวาคม 2561) |
---|---|---|---|---|---|
ราษฎร์บูรณะ | Rat Burana |
6.716
|
32,590
|
13,832
|
4,852.59
|
บางปะกอก | Bang Pakok |
9.066
|
49,216
|
23,204
|
5,428.63
|
ทั้งหมด |
15.782
|
81,806
|
37,036
|
5,183.50
|
ประชากร[แก้]
[แสดง]สถิติประชากรตามทะเบียนราษฎร เขตราษฎร์บูรณะ[2] |
---|
เหตุการณ์สำคัญ[แก้]
22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2530 – เปิดใช้สะพานพระราม 9 เป็นสะพานขึงโดยใช้สายเคเบิลขนาดใหญ่ เริ่มดำเนินการก่อสร้าง เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2527 โดยมีกิจกรรมวิ่งมาราธอนลอยฟ้าในเวลา 06.00 น. ในวันที่ทำพิธีการเปิด โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จเป็นองค์ประธาน มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมกว่า 85,000 คน และในเวลาค่ำ พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ นายกรัฐมนตรี เป็นผู้นำประชาชนจุดเทียนชัยถวายพระพรพร้อมกับร่วมร้องเพลงสรรเสริญพระบารมี และมีการแสดงพลุดอกไม้ไฟอย่างตระการตา[3]
การคมนาคม[แก้]
ถนนสายหลักในพื้นที่เขตราษฎร์บูรณะได้แก่
- ถนนสุขสวัสดิ์ เริ่มตั้งแต่ซอยสุขสวัสดิ์ 1 (รุ่งอรุณ) ไปจนถึงซอยสุขสวัสดิ์ 60 รวมทั้งหมด 44 ซอย
- ถนนราษฎร์บูรณะ เริ่มตั้งแต่ซอยราษฎร์บูรณะ 1 ถึงซอยราษฎร์บูรณะ 48 (บูรณะสุดเขต 5) รวมทั้งหมด 45 ซอย
- ถนนประชาอุทิศ เริ่มตั้งแต่ซอยประชาอุทิศ 1 (สายสำรวจ 1) ถึงซอยประชาอุทิศ 37 (มติมิตร) รวมทั้งหมด 31 ซอย
- ทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ระบบทางด่วนขั้นที่ 1 หรือ “ทางด่วน 1”)
ถนนสายรอง มีทั้งหมด 3 สายได้แก่ ถนนราษฎร์พัฒนา ซอยสุขสวัสดิ์ 13 และถนนจอมทองบูรณะ
เขตราษฎร์บูรณะมีสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา แห่งเดียว คือสะพานพระราม 9 ซึ่งเชื่อมระหว่างแขวงราษฎร์บูรณะกับแขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา
สถานที่สำคัญ[แก้]
โรงเรียน[แก้]
วิทยาลัย[แก้]สะพาน[แก้]วัด[แก้]
อาคารสำนักงาน[แก้]
โรงพยาบาล[แก้] |
ถนนสุขสวัสดิ์ ลูกหมุน ระบายอากาศ พร้อมแผ่นฐาน ถนนสุขสวั […]