Category Archives: ทางพิเศษเฉลิมมหานคร

ทางพิเศษเฉลิมมหานคร

ทางพิเศษเฉลิมมหานคร is position for activity in post to be presented at the first rank on Google page search by address keyword name in category.

ทางพิเศษเฉลิมมหานคร (The Chalerm Mahanakorn Expressway) เป็นถนนสายหลักวิ่งผ่านเขตคลองเตย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ไบยังการนำทางไปยังการค้นหา

Thailand road sign Expressway.svg
ทาง ด่วน เฉลิมมหานคร
ระบบทางด่วนขั้นที่ 1

ทางพิเศษเฉลิมมหานคร (สีแดง)
ข้อมูลของเส้นทาง
ความยาว: 27.1 กิโลเมตร (16.8 ไมล์)
ใช้งาน: พ.ศ. 2524 – ปัจจุบัน
สายดินแดง–ท่าเรือ
ความยาว: 8.9 กิโลเมตร (5.5 ไมล์)
ปลายทิศเหนือ: Thai Highway-31.svg ถนนวิภาวดีรังสิต ใน แขวงดินแดง เขตดินแดง
ทางแยก
ที่สำคัญ:
Thailand road sign Expressway.svg ทางพิเศษศรีรัช ใน แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี
ปลายทิศใต้: Thailand road sign Expressway.svg ทางแยกต่างระดับท่าเรือ ใน แขวงคลองเตย เขตคลองเตย
สายบางนา–ท่าเรือ
ความยาว: 7.9 กิโลเมตร (4.9 ไมล์)
ปลายทิศตะวันออก: Thai Highway-34.svg ทล.34 แขวงบางนาใต้ เขตบางนา
ทางแยก
ที่สำคัญ:
Thailand road sign Expressway.svg ทางพิเศษฉลองรัช แขวงพระโขนง เขตคลองเตย
ปลายทิศตะวันตก: Thailand road sign Expressway.svg ทางแยกต่างระดับท่าเรือ ใน แขวงคลองเตย เขตคลองเตย
สายดาวคะนอง–ท่าเรือ
ความยาว: 10.3 กิโลเมตร (6.4 ไมล์)
ปลายทิศตะวันตก: Thai Highway-35.svg ถนนพระรามที่ 2 ใน แขวงบางมด เขตจอมทอง
ทางแยก
ที่สำคัญ:
Thailand road sign Expressway.svg ทางพิเศษศรีรัช ใน แขวงบางโคล่ เขตบางคอแหลม
ปลายทิศตะวันออก: Thailand road sign Expressway.svg ทางแยกต่างระดับท่าเรือ ใน แขวงคลองเตย เขตคลองเตย
ตำแหน่งที่ตั้ง
เมืองหลัก: กรุงเทพมหานคร
ระบบทางหลวง

ทาง ด่วน เฉลิมมหานคร หรือ ระบบทางด่วนขั้นที่ 1 เป็นทางพิเศษสายแรกของประเทศไทย ก่อสร้างและเปิดให้บริการเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2524[1][2] โดยการทางพิเศษแห่งประเทศไทย

เป็นทางพิเศษที่เชื่อมการคมนาคมขนส่งระหว่างภาคต่าง ๆ ของประเทศเข้าด้วยกัน โดยไม่ต้องเดินทางผ่านการจราจรหนาแน่นในใจกลางกรุงเทพมหานคร

ช่วยลดปริมาณการจราจรที่คับคั่งบนถนนระดับดิน รวมทั้งช่วยให้การขนส่งสินค้าระหว่างท่าเรือคลองเตยกับภาคต่าง ๆ ให้เป็นไปด้วยความสะดวกและรวดเร็ว มีระยะทางทั้งสิ้น 27.1 กิโลเมตร[2]

เอ็มเค เมทัลชีท (MK Metalsheet)

เขตคลองเตย เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตของกรุงเทพมหานคร ถือเป็นเขตเศรษฐกิจใหม่และการพัฒนาตามแนววงแหวนอุตสาหกรรม

ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้]

เขตคลองเตยตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ทางตอนกลางค่อนไปทางตะวันตกของฝั่งพระนคร มีอาณาเขตติดต่อกับเขตต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกาดังนี้

ประวัติ[แก้]

ย้อนไปถึงประมาณพุทธศตวรรษที่ 14 (คริสต์ศตวรรษที่ 9) บริเวณเขตคลองเตยเคยเป็นที่ตั้งของ เมืองปากน้ำพระประแดง เป็นเมืองหน้าด่านปากน้ำเจ้าพระยา ก่อนที่จะขึ้นไปสู่เมืองอื่น ๆ (อยู่ตรงข้ามกับเมือง (อำเภอ) พระประแดงในปัจจุบัน ซึ่งสร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 1)

เมื่อมีการจัดการปกครองส่วนภูมิภาคในสมัยรัชกาลที่ 5 บริเวณนี้จึงอยู่ในเขตการปกครองของ เมือง (จังหวัด) พระประแดง โดยมีฐานะเป็น ตำบลคลองเตย อำเภอพระโขนง ต่อมาอำเภอพระโขนงได้ย้ายมาขึ้นกับจังหวัดพระนคร และได้มีการยุบรวมจังหวัดธนบุรีกับจังหวัดพระนคร เปลี่ยนฐานะเป็นนครหลวงกรุงเทพธนบุรีและกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้เปลี่ยนการเรียกหน่วยการปกครองใหม่ด้วย ตำบลคลองเตยจึงเปลี่ยนแปลงฐานะเป็น แขวงคลองเตย เป็นพื้นที่การปกครองของสำนักงานเขตพระโขนง

ภายหลังเขตพระโขนงมีความเจริญและมีประชากรหนาแน่นขึ้น พื้นที่บางแห่งอยู่ไกลจากสำนักงานเขต ในวันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2532 กรุงเทพมหานครจึงได้จัดตั้งสำนักงานเขตพระโขนง สาขา 1 (คลองเตย) ขึ้นดูแลแขวงคลองเตย แขวงคลองตัน และแขวงพระโขนง และในวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532 กระทรวงมหาดไทยได้แบ่งพื้นที่ 3 แขวงดังกล่าวตั้งเป็น เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร

จนกระทั่งในวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2538 กรุงเทพมหานครได้จัดตั้งแขวงคลองเตยเหนือ แขวงคลองตันเหนือ และแขวงพระโขนงเหนือ โดยใช้ถนนสุขุมวิทเป็นเส้นแบ่งเขตออกจากแขวงเดิม และให้สำนักงานเขตคลองเตย สาขา 1 ดูแลพื้นที่แขวงใหม่ดังกล่าวซึ่งต่อมาได้แยกออกไปเป็นเขตวัฒนาในปี พ.ศ. 2540

การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]

เขตคลองเตยมีหน่วยการปกครองย่อย 3 แขวง ได้แก่

อักษรไทย อักษรโรมัน พื้นที่
(ตร.กม.)
จำนวนประชากร
(ธันวาคม 2561)
จำนวนบ้าน
(ธันวาคม 2561)
ความหนาแน่นประชากร
(ธันวาคม 2561)
คลองเตย Khlong Toei
7.249
67,346
33,423
9,290.38
คลองตัน Khlong Tan
1.901
11,101
14,323
5,839.55
พระโขนง Phra Khanong
3.850
23,096
24,434
5,998.96
ทั้งหมด
13.000
101,543
72,180
7,811.00

ประชากร[แก้]

สถานที่สำคัญ[แก้]

ท่าเรือกรุงเทพ

การคมนาคม[แก้]

ทางบก[แก้]

ทางน้ำ[แก้]

ระบบขนส่งมวลชน[แก้]

รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล

เศรษฐกิจชุมชน[แก้]

ที่ชุมชนเกาะกลางน้ำ เขตคลองเตย ผู้ที่อาศัยอยู่ยังชุมชนนี้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ด้วยการปลูกผักและเพาะเห็ดหลายชนิด เช่น เห็ดนางฟ้าเห็ดนางฟ้าภูฏานเห็ดเป๋าฮื้อเห็ดหูหนู[3]

Call Now Button